วัดโคนอน Watkhonon

ประวัติ
“วัดโคนอน”ตั้งอยูหมูที่ 3 แขวงบางหวา เขตภาษีเจริญ กุรงเทพมหานคร
“วัดโคนอน” เปนวัดราษฎร ชนิดมีพัทธสีมา สังกัดคณะมหานิกาย ตั้งอยู ณ ฝงขวาของ
คลอง ที่ชื่อวา คลองขวาง หรือคลอง เลขประจําวัดที่ 13 เปนวัดที่สรางมาแตโบราณ มีนามวา
“วัดโคนอน” ประมาณวา คงจะสรางขึ้นในราวกรุงศรีอยุธยาเปนราชธานี ซึ่งมีขอสันนิษฐานจาก
สิ่งกอสรางรูปทรงที่มีศิลปตามแบบของชางสมัยกรุงศรีอยุธยา ตามแบบศิลปที่มีอยูภายในวัด และ
วัตถุโบราณ อาทิเชน รูปทรงสันฐานของอุโบสถหลังเกา ซึ่งเปนแบบมหาอุด คือมีประตูทางดาน
หนาประตูเดียว ดานหลังปดทึบ ตามที่ชาวบานนิยมเรียกกันวา โบสถมหาอุด พรอมทั้งมีภาพ
เขียนที่หลงเหลืออยูบางเทานั้น และอีกประการหนึ่งก็คือ วัตถุโบราณ อาทิเชน ตูพระไตรปฎก
ลายรดน้ำที่มีลวดลายศิลปของชางสมัยอยุธยา แตประวัติของวัดที่แทจริงนั้นยังคนไมพบหลักฐานที่
แนนอนวาสรางขึ้นในสมัยใด และใครเปนผูสราง แตมาทราบเอาพอที่จะไดหลักฐาน ก็ประมาณ
สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 3 วาวัดนี้มีอยูแลว และมีการบูรณะ
ปฏิสังขรณจนเจริญรุงเรืองพอสมควรในสมัยนั้นตามคําบอกเลาวา “วัดโคนอน” ในระยะนั้นเปน
วัดที่เจริญมากวัดหนึ่ง ซึ่งเปนเหตุทําใหเกิดวัดขึ้นมาใหมอีกวัดหนึ่ง มีชื่อวา “วัดอางแกว” โดยเจา
อาวาส “วัดโคนอน” ที่มีชื่อวา พระภาวนาโกศลเถระ (รอด) ซึ่งทานเปนอาจารยของ พระภาวนา
โกศลเถระ (เอี่ยม สุวณฺณสโร) ตนสกุลทองอู ไดเปนผูสรางขึ้น ในสมัยที่ขุดคลองภาษีเจริญขึ้น
ใหม ๆ และอีกประการหนึ่ง ที่ฐานพระประธานอุโบสถหลังเดิมนั้นมีคําจารึกวา พระครูธรรมถิดา
ญาณ สรางถวายไวในพระพุทธศาสนา ปพุทธศักราช 2384 ซึ่งมีผูสันนิษฐานวา คงจะเปนพระ
ประธานที่นํามาประดิษฐานในภายหลัง เพราะวาการกออิฐถือปูน เปนวัสดุที่ตางชนิดกันกับการ
สรางอุโบสถ จึงทําใหสันนิษฐานไปวา พระประธานอุโบสถหลังนี้ จะตองนํามาประดิษฐานใน
ภายหลังอยางแนนอน โดยองคเดิมอาจจุชํารุดและซอมไมไดแลว พระครูธรรมถิดาญาณองคนี้ตอ
สถานที่ตั้ง
      ประวัติวัดโคนอน
มาภายหลังทานไดรับพระราชทานสมณศักดิ์เปนพระราชาคณะชั้นสามัญ ที่พระภาวนาโกศลเถระ
(รอด) ทานเคยเปนผูชวยเจาอาวาสวัดหนังราชวรวิหาร และเจาอาวาสวัดนางนอง เขตบางขุนเทียน
กรุงเทพมหานคร จึงไดจัดสรางถวายไวที่ “วัดโคนอน” แตไมทราบวาทําการหลอที่ไหน เมื่อไร
เพราะไมมีหลักฐาน ซึ่งตอมาในภายหลังผูสราง ไดยายจากวัดนางนอง มาอยูเปนเจาอาวาสที่ “วัด
โคนอน” แหงนี้ โดยมีเรื่องเลากันตอมาวา สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวรัชกาลที่ 4
เสด็จพระราชดําเนินมาทรงถวายผาพระกฐิน ณ วัดนางนอง อําเภอบางขุนเทียน จังหวัดธนบุรี
ปจจุบันเปลี่ยนเปน เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร ซึ่งสมัยนั้นทานมีตําแหนงเปนเจาอาวาส
และมีสมณศักดิ์เปนพระราชาคณะชั้นสามัญ ที่พระภาวนาโกศลเถระ (เจาคุณรอด) เมื่อทานรับผา
พระกฐินแลว แตทานไมไดถวายอดิเรก ซึ่งเปนธรรมเนียมในการรับพระราชาที่ไดเสด็จ ฯ เปนให
ทางการคณะสงฆ ตําหนิโทษ และถอดออกจากสมณะศักดิ์ ทานจึงไดยายมาอยู “วัดโคนอน” ตอ
มาในภายหลังทานไดเปนเจาอาวาส ซึ่งในสมัยนั้น “วัดโคนอน” เปนวัดที่เจริญมากวัดหนึ่ง และ
สิ่งกอสรางภายในวัดก็มีเปนที่เรียบรอยและสมบูรณ จึงไมมีการบูรณะและซอมสรางขึ้นใหมอีกเลย
เขตและอุปจารวัด
เขตอุปจารวัด นาจะถือเอาโดยนัยกําหนดพื้นที่ทั้งหมดของวัด ที่เจาพนักงานไดรังวัดและ
จัดแยกประเภทที่ตั้งวัด และที่ธรณีสงฆ ออก ส.ค. 1 ใหไวเปนหลักฐานที่สําคัญดังนี้คือ
1. ที่จัดสรางวัด ตามใบ ส.ค. 1 ที่สรางวัด มีเนื้อที่ประมาณ 3 ไร 1 งาน 8 ตารางวา
พื้นที่ที่ทางการจัดไว ไดรูปเปน 4 มุม 4 เหลี่ยมผืนผา ดานตะวันออก จดคลองขวาง (คลองวัด
โคนอน) ดานใต จดที่ 153 เปนของนางสาวสงวน เมืองทอง ดานตะวันตก จดที่ 154 เปนที่ดิน
ธรณีสงฆ ดานเหนือ จดที่ 100 เปนของนายเตะ เตียเปน
2. ที่ธรณีสงฆ ตามโฉนดที่ดิน เลขที่ 2094 ระวาง 3 ต. เลขที่ดิน 154 มีเนื้อที่ดิน
จํานวน 3 ไร 3 งาน ซึ่งทางราชการจัดไวดังนี้ ดานตะวันออก จดที่ ส.ค. 1 ที่ 1 ลงวันที่ 25
พฤษภาคม พ.ศ. 2498 ที่ดินที่จัดสรางวัดในสมัยนั้น ดานใต จดที่ 153 ของนางสาวสงวน เมือง
ทอง ดานตะวันตก จดที่ 152 ของนายใย สมานวงศ และจุดที่ 146 ของ น.อ.นอม สุภัทรพันธุ
รน. ดานทิศเหนือ จดที่ 100 ของนายเตะ เตียเปน
3. ที่ทางวัดจัดซื้อขึ้นใหม เพื่อขยายเขตของวัดใหมากขึ้น โดยการนําของ พระครูวิจิตร
นวการ (พระมหาทองปลิว ธุตมโล) เจาอาวาสองคปจจุบัน เปนเนื้อที่ดินจํานวน 515 ตารางวา
ซึ่งอยูในเนื้อที่ดิน เลขที่ 153 ซึ่งทางราชการจัดไวดังนี้ ดานตะวันออก จดคลองขวาง (คลองวัด
โคนอน) ดานใต จดที่ของ นายจรูญ นางชด สายสุนทร ดานตะวันตก จดที่ดิน 153 อีกสวน
หนึ่งของนางสาวสงวน เมืองทอง ที่แบงใหเปนกรรมสิทธิ์ ของ ร.ร. “วัดโคนอน” ดานเหนือ จด
ที่ ส.ค. 1 ที่สรางวัด
4. ที่ดินที่เปนพื้นที่ตั้งวัดในปจจุบัน เปนพื้นที่ 4 เหลี่ยม รูปตัวแอนดดังนี้ คือ
ก. ทิศเหนือ จดที่ 100 ของนายเตะ เตียเปน
ข. ทิศตะวันออก จดคลองขวาง (คลองวัดโคนอน)
ค. ทิศใต จดที่ดินของนายจรูญ นางชด สายสนุทร และอีกสวนหนึ่ง จดที่ดินที่เปน
สวนของ ร.ร. “วัดโคนอน”
ง. ทิศตะวันตก จดที่ดิน 153 ของนางสาวสงวน เมืองทอง สวนที่มอบให ร.ร.
“วัดโคนอน” ที่ดิน 152 ของนายใย สมานวงศ และที่ดิน 146 ของ น.อ. นอม
สุภัทรพันธุ รน.
ปจจุบันนี้ ทางวัดไดจัดการขยายเขตอุปจาระ (เขตวัดทั้งหมด) ออกไปเปนเนื้อที่ดินรวม
กัน จํานวน 3 โฉนด มีเนื้อที่ดินที่สรางวัดของเดิม ที่ดินธรณีสงฆ และที่ดินที่จัดซื้อขึ้นใหมเพื่อ
ขยายเขตวัด คิดใหมตามปจจุบัน รวมเปนเนื้อที่ทั้งหมด รวมกันไดจํานวน 8 ไร 1 งาน 23
ตารางวา โดยจัดทําและออกโฉนดไวโดยถูกตอง ตามกฎกระทรวง ที่แจงไวที่กรมการศาสนา
กระทรวงศึกษาธิการ และถูกตองสมบูรณแลว

   ลำดับเจ้าอาวาส
เจาอาวาสองคที่ 1 พระภาวนาโกศลเถระ (หรือหลวงปูรอด)
เจาอาวาสองคที่ 2 พระภาวนาโกศลเถระ (หลวงปูเอี่ยม สุวณฺณสโร)
เจาอาวาสองคที่ 3 พระอธิการทิม
เจาอาวาสองคที่ 4 พระอธิการอยู
เจาอาวาสองคที่ 5 พระอธิการอุน พฺรหฺมสโร
เจาอาวาสองคที่ 6 พระอธิการสายหยุด วรุตฺตโม (ทองเนียม)
เจาอาวาสองคที่ 7 พระครูพรหมโชติวัฒน (บุญมี พฺรหฺมโชติโก) กิตติธรรม ปฏิบัติหนา
ที่เพียงแตเปนผูรักษาการแทนเจาอาวาสอยูระยะหนึ่งเทานั้น
เจาอาวาสองคที่ 8 พระครูวิจิตรนวการ (พระมหาทองปลิว ธุตมโล) พุมพิมล ปฏิบัติ
หนาที่ผูรักษาการเจาอาวาสอยูระยะหนึ่ง แลวไดรับแตงตั้งเปนเจา
อาวาสตอมาจนถึงปจจุบันนี้

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น